ส่องความรวย ‘แอน จักรพงษ์’ เจ้าของมิสยูนิเวิร์สคนใหม่ จากเด็กปั๊มสู่มหาเศรษฐี

ส่องความรวย ‘แอน จักรพงษ์’ เจ้าของมิสยูนิเวิร์สคนใหม่ จากเด็กปั๊มสู่มหาเศรษฐี

ส่องความรวย แอน จักรพงษ์ เจ้าของมิสยูนิเวิร์ส (MUT) คนใหม่ ขึ้นแท่นสตรีข้ามเพศที่รวยที่สุดแห่งเอเชีย กับอาณาจักร JKN ระดับหมื่นล้าน !!! เรียกว่าสวยและรวยมากจริง ๆ กับ แอน จักรพงษ์ จักราจุฑาธิบดิ์ แห่ง JKN GLOBAL MEDIA เจ้าของธุรกิจหมื่นล้านจากการนำเข้า หนัง ละคร ลิขสิทธิ์เข้ามาจัดจำหน่ายในประเทศไทย ล่าสุดไม่หยุดความปัง ซื้อลิขสิทธิ์ความเป็นเจ้าของ เวทีมิสยูนิเวิร์ส (Miss Universe) ไปครอบครอง สานฝันแฟนนางงามไทย ขึ้นแท่นนักธุรกิจสาวข้ามเพศที่รวยที่สุดในเอเชีย

สวยและรวยมาก แอน จักรพงษ์ นักธุกิจสาวข้ามเพศแห่ง JKN GLOBAL MEDIA กับธุรกิจ รวมทรัพย์สินกว่าหมื่นล้านบาท !!!

เจเคเอ็น โกลบอล มีเดีย (JKN GLOBAL MEDIA)

บริษัท เจเคเอ็น โกลบอล กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทผลิตรายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ ให้บริการเวลาเพื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ์สินค้าทางสถานีโทรทัศน์ของทางกลุ่มบริษัท จำหน่ายผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เนื้อหารายการประเภทซีรีส์ การ์ตูน สารคดี จากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลีใต้ อินเดีย จีน ฟิลิปปินส์ และสหรัฐ

JKN เริ่มแรกมี แอน จักรพงษ์ จักราจุฑาธิบดิ์ นั่งแท่นผู้บริหาร ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มต้นเพียง 1,000,000 บาท เริ่มแรกบริษัทดำเนินธุรกิจจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ อาทิ ดีวีดีชุดเสื้อยิ้มให้พ่อ, น้ำดื่มตราภัทรพัฒน์ เป็นต้น ซึ่งเป็นสินค้าภายใต้สิทธิ์ของ “บริษัท เจเคเอ็น แลนด์มาร์ค จำกัด” ปัจจุบัน เจเคเอ็น โกลบอล มีเดีย ยังคงมีผู้ถือหุ้นใหญ่สุดอย่าง แอน จักรพงษ์ จักราจุฑาธิบดิ์ ที่ 53.16% มีจำนวนหุ้นสามัญทั้งหมด 322,923,173 หุ้น

ช่องนิว 18 หรือ JKN18 วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2564 เจเคเอ็น โกลบอล มีเดีย ได้เข้าควบคุมการออกอากาศช่อง นิว 18 (News18) ก่อนที่ในวันที่ 9 เมษายนปีเดียวกัน JKN จะเข้าซื้อหุ้นสามัญจดทะเบียนของบริษัท ดีเอ็น บรอดคาสต์ จำกัด ผู้รับใบอนุญาตของช่องนิว 18 รวมถึงอาคารสำนักงานของช่องและอุปกรณ์การออกอากาศทั้งหมดจากกลุ่มผู้บริหารของเดลินิวส์ คิดเป็นมูลค่า 1,060,000,000 บาท

ทำให้ดีเอ็น บรอดคาสต์ กลายเป็นบริษัทย่อยของ JKN โดยจะมีการเปลี่ยนชื่อบริษัทผู้รับใบอนุญาต และจะมีการเปลี่ยนชื่อสถานีเป็น “เจเคเอ็น 18” ได้ประกาศแผนการตลาดของตนในรูปแบบใหม่เป็น “Content Commerce Company” โดยดึงเนื้อหาที่ตรงกับกลุ่มผู้บริโภคมาต่อยอดสู่ธุรกิจพาณิชย์

เมื่อวันที่ 12 พ.ย.63 แอน จักรพงษ์ ได้โชว์ศักยภาพความแข็งแกร่งของ JKN ย้ายเข้าเทรดในกระดาน SET จากเดิมที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ MAI เสริมศักยภาพความแข็งแกร่งทางด้านฐานะทางการเงิน รองรับการรุกขยายธุรกิจจำหน่ายลิขสิทธิ์คอนเทนต์ในภูมิภาคอาเซียนก่อนขยายไปสู่ภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก

ความสำเร็จดังกล่าว ส่งผลให้ตลอดระยะเวลา 3 ปี (2560-2562) JKN เติบโตได้อย่างต่อเนื่องทั้งในมุมของรายได้และกำไรสุทธิโดยมีรายได้รวม 1,156 ล้านบาทในปี 2560 เพิ่มเป็น 1,422 ล้านบาทในปี 2561 และเพิ่มเป็น 1,710 ล้านบาทในปี 2562 ตามลำดับ ขณะที่กำไรสุทธิเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน จากปี 2560 ที่มีกำไรสุทธิ 188 ล้านบาท เพิ่มเป็น 227.7 ล้านบาทในปี 2561 และ252.88 ล้านบาทในปี 2562 ไม่เรียกว่ารวยมากก็ไม่รู้จะว่ายังไงแล้ว

Project Runway Thailand

เมื่อเดือนมีนาคม 2565 แอน จักรพงษ์ หลังคว้าลิขสิทธิ์ Project Runway เรียลลิตี้สายแฟชั่นจากสหรัฐอเมริกามาผลิตและออกอากาศเป็นเวอร์ชั่นไทยครั้งแรกในชื่อ Project Runway Thailand เพื่อผลักดันไทยดีไซเนอร์สู่รันเวย์ระดับโลก

Project Runway ไม่เพียงแต่เพื่ออุตสาหกรรมแฟชั่นและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์เท่านั้น แต่ยังเป็นประโยชน์แก่เยาวชนและแวดวงการศึกษาของไทยในการเปิดโลกทัศน์ ค้นหา และส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ การทำงานภายใต้เงื่อนไขและกรอบเวลาที่จำกัด รวมถึงความกดดันอื่น ๆ

แอน จักรพงษ์ ได้เข้าร่วมเป็นหนึ่งในดิลเลอร์รายการ Shark Tank Thailand ซีซั่น 2 รายการเรียลลิตี้โชว์เชิงธุรกิจเชิญนักลงทุนประสบความสำเร็จหมื่นล้านที่กระหายการลงทุนรวมตัวกันเรียกว่า “Sharks (ชาร์ค)” ร่วมลงทุนกับผู้เข้าแข่งขันไปกว่า 30 ล้านบาท ปัจจุบันมีหุ้นอยู่กับหลายบริษัทที่เข้าร่วมดิล

ล่าสุดกับธุรกิจใหม่ของ แอน จักรพงษ์ จักราจุฑาธิบดิ์ กับการซื้อกิจการ มิสยูนิเวิร์ส (Miss Universe) ด้วยเงินสูงถึง 800 ล้านบาท ทำให้เธอนั้นครอบครองกรรมสิทธิ์จัดงานมิสยูนิเวิร์สแต่เพียงผู้เดียว 100% สานฝันแฟนนางงามไทยไปอีกก้าว อีกทั้งยังทำให้หุ้นของ JKN Global Media ซึ่งแอนเป็นผู้บริหารใหญ่อยู่นั้น พุ่งขึ้นเป็นกราฟสีเขียวไม่หยุดอีกด้วย

หากภาพของ Shutterstock มีความสำคัญต่อการสร้าง DALL-E ตามที่อัลท์แมนระบุ ผู้สนับสนุนของแพลตฟอร์มอาจรู้สึกไม่สบายใจที่เข้าใจได้ว่าเนื้อหาของพวกเขาถูกใช้เพื่อเลิกจ้างงาน นี่คือเหตุผลที่ Shutterstock เปิดตัว Contributor Fund ซึ่งจะใช้เพื่อจ่ายให้กับศิลปิน ช่างภาพ และนักออกแบบ เมื่อเนื้อหาที่อัปโหลดไปยัง Shutterstock ถูกขายโดยบริษัทให้กับบริษัทอย่าง OpenAI เพื่อพัฒนาโมเดล AI ทั่วไป

แม้ว่าการขูดหรือซื้อข้อมูลเพื่อฝึกอบรมเครื่องสร้างงานศิลปะ AI ดูเหมือนจะถูกกฎหมาย (ครอบคลุมโดยการใช้งานที่เหมาะสม) ผู้เชี่ยวชาญหลายคนกังวลเกี่ยวกับความท้าทายและภาวะแทรกซ้อนในอนาคต ตัวอย่างเช่น Getty Images ได้สั่งห้ามการขายงานศิลปะ AI บนแพลตฟอร์มของตนเนื่องจากกลัวว่าจะไม่สามารถลิขสิทธิ์ผลงานของระบบเหล่านี้จะนำไปสู่ปัญหาการออกใบอนุญาตสำหรับลูกค้า

เกมส์ออนไลน์แนะนำ >>> ดัมมี่ออนไลน์ ฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ ufabet 2023 แทงบอลออนไลน์ สล็อตแตกง่าย